รายวิชาของหลักสูตร
๖๑๘ ๑๐๑ ทฤษฎีสันติภาพ Theory of Peace / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๑๐๒ ทฤษฎีความขัดแย้งและความรุนแรง Theory of Conflict and Violence / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๑๐๓ ประวัติและพัฒนาการความขัดแย้งและสันติภาพในโลกยุคใหม่ History and Development of Conflict and Peace in the Modern World / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๑๐๔ ระเบียบวิธีวิจัยเพื่อสันติศึกษา* Research Methodology for Peace Studies / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษเพื่อสันติศึกษา* English for Peace Studies / ๓ (๒-๑-๖)
๖๐๐ ๒๐๕ กรรมฐาน* Insight Meditation / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๒๐๖ พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพ Buddhism for Peace / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๒๐๗ พุทธสันติวิธี Buddhist Peaceful Means / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๒๐๘ สันติสนทนา Interfaith Dialogue / ๓ (๒-๑-๖)
๖๑๘ ๒๐๙ การปฏิบัติการจัดการความขัดแย้ง Practice for Managing Conflict / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๒๑๐ สัมมนาสันติศึกษา Seminar on Peace Studies / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๓๑๑ การสื่อสารเพื่อสันติภาพ Communication for Peace / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๓๑๒ ผู้นำทางศาสนาและทางการเมืองเพื่อสันติภาพ Religious and Political Leaders for Peace / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๓๑๓ การไกล่เกลี่ยคนกลาง Mediation / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๓๑๔ กระบวนการยุติธรรมเพื่อสันติภาพ Justice Process for Peace / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๓๑๕ องค์กรด้านสันติภาพระหว่างประเทศ International Peace Organization / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๓๑๖ ขันติธรรมทางศาสนา Religious Tolerance / ๓ (๓-๐-๖)
๖๑๘ ๓๑๗ ศึกษาอิสระในสันติศึกษา Independent Study in Peace Studies / ๓ (๓-๐-๖)
หมายเหตุ : รายวิชา * เป็นวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต
